จำนวนผู้เข้าชม

วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ภาคอีสาน


ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แผนที่ภาคอีสาน กำหนดตามสภาพภูมิศาสตร์ โดยราชบัณฑิตยสถาน และตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ภาคอีสาน หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเขตหรือภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย อยู่บนที่ราบสูงโคราช มีแม่น้ำโขงกั้นเขตทางตอนเหนือและตะวันออกของภาค ทางด้านใต้จรดชายแดนกัมพูชา ทางตะวันตกมีเทือกเขาเพชรบูรณ์และเทือกเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นแยกจากภาคเหนือและภาคกลาง
การเกษตรนับเป็นอาชีพหลักของภาค แต่ด้วยสภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้ง รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ทางด้านสังคมเศรษฐกิจ ทำให้มีผลผลิตที่น้อยกว่าภาคอื่นๆ
ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน แต่ภาษาไทยกลางก็นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมร ที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ยังมีภาษาถิ่นอื่นๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทยโคราช เป็นต้น
ภาคอีสานมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหาร ภาษา ดนตรีหมอลำ และศิลปะการฟ้อนรำที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น
ภาคอีสาน มีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูหลวง และภูกระดึงซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น ลำตะคอง แม่น้ำชี แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล

เนื้อหา

[ซ่อน]

[แก้] จังหวัดในภาคอีสาน

ภาคอีสานมีทั้งหมด 20 จังหวัด ตามราชบัณฑิตยสถาน และตามคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ [1] ซึ่งจัดแบ่งเหมือนกัน ดังนี้

[แก้] เมืองใหญ่ของอีสานเรียงตามประชากร

  1. เทศบาลนครนครราชสีมา ประชากร 147,688 คน (อันดับที่ 5 ของประเทศ)
  2. เทศบาลนครอุดรธานี ประชากร 142,445 คน (อันดับที่ 7 ของประเทศ)
  3. เทศบาลนครขอนแก่น ประชากร 119,858 คน (อันดับที่ 9 ของประเทศ)
  4. เทศบาลนครอุบลราชธานี ประชากร 86,073 คน (อันดับที่ 13 ของประเทศ)
  5. เทศบาลเมืองสกลนคร ประชากร 54,390 คน (อันดับที่ 38 ของประเทศ)
  6. เทศบาลเมืองหนองคาย ประชากร 47,895 คน (อันดับที่ 46 ของประเทศ)
  7. เทศบาลเมืองสุรินทร์ ประชากร 40,351 คน (อันดับที่ 54 ของประเทศ)
  8. เทศบาลเมืองมหาสารคาม ประชากร 40,042 คน (อันดับที่ 56 ของประเทศ)
  9. เทศบาลเมืองศรีสะเกษ ประชากร 39,502 คน(อันดับที่ 59 ของประเทศ)
  10. เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ประชากร 37,646 คน (อันดับที่ 63 ของประเทศ)
  11. เทศบาลเมืองชัยภูมิ ประชากร 37,477 คน (อันดับที่ 64 ของประเทศ)
  12. เทศบาลเมืองปากช่อง ประชากร 36,871 คน (อันดับที่ 65 ของประเทศ)
  13. เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ประชากร 34,660 คน (อันดับที่ 69 ของประเทศ)
  14. เทศบาลเมืองมุกดาหาร ประชากร 34,486 คน (อันดับที่ 70 ของประเทศ)
  15. เทศบาลเมืองชุมแพ ประชากร 32,300 คน (อันดับที่ 73 ของประเทศ)
  16. เทศบาลเมืองบ้านไผ่ ประชากร 30,684 คน (อันดับที่ 76 ของประเทศ)
  17. เทศบาลเมืองวารินชำราบ ประชากร 30,360 คน (อันดับที่ 78 ของประเทศ)
  18. เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ ประชากร 28,308 คน (อันดับที่ 82 ของประเทศ)
  19. เทศบาลเมืองนครพนม ประชากร 27,505 คน (อันดับที่ 84 ของประเทศ)
  20. เทศบาลเมืองอำนาจเจริญ ประชากร 25,987 คน (อันดับที่ 89 ของประเทศ)
  21. เทศบาลเมืองหนองสำโรง ประชากร 24,977 คน (อันดับที่ 93 ของประเทศ)
  22. เทศบาลเมืองเลย ประชากร 22,531 คน (อันดับที่ 100 ของประเทศ)
  23. เทศบาลเมืองยโสธร ประชากร 21,039 คน
  24. เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู ประชากร 20,923 คน
  25. บึงกาฬยังอยู่ในขั้นพิจราณา ยังไม่ใช่ จังหวัด

[แก้] องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดในภาคอีสาน

[แก้] เทศบาลนคร

[แก้] เทศบาลเมือง

[แก้] อบต.

[แก้] ท่าอากาศยานพาณิชย์

[แก้] อุทยานแห่งชาติ

[แก้] อุทยานประวัติศาสตร์

[แก้] มรดกโลก

[แก้] เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

[แก้] อยู่ระหว่างการพิจาราณา

[แก้] อาหารหลักของชาวอีสาน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น